Location
RECOFTC
RECOFTC is derived from an abbreviated form of the organization's legal name, Regional Community Forestry Training Center for Asia and the Pacific. Formerly the organization was known as RECOFTC – The Center for People and Forests.
RECOFTC – The Center for People and Forests is an international not-for-profit organization that focuses on capacity building for community forestry in the Asia Pacific region. It advocates for the increased involvement of local communities living in and around forests - some 450 million people in Asia-Pacific - in the equitable and ecologically sustainable management of forest landscapes.
The Regional Community Forestry Training Center for Asia and the Pacific (RECOFTC) opened in Bangkok, Thailand, in March 1987 with support from the United Nations Food and Agriculture Organization, the Government of Switzerland (through the Asian Development Bank), and Thailand's Kasetsart University.
Community forestry is widely acknowledged as a powerful solution for many of the challenges facing local people and the wider society, especially in improving rural livelihoods, enhancing community governance and empowerment, transforming forest-related conflict, protecting and enhancing the environment, and helping to fight climate change. As a capacity-building organisation, RECOFTC improves the ability of people and organisations to conduct community forestry effectively and sustainably.
RECOFTC works toward its mission through four thematic areas:
- expanding community forestry
- people, forests and climate change
- transforming forest conflict
- securing local livelihoods.
Members:
Resources
Displaying 56 - 60 of 485การจัดการลุ่มนํ้าอิงอย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน
การจัดการลุ่มนํ้าที่มีเป้าหมายเพื่อความยั่งยืนโดยมีแนวคิดการจัดการลุ่มนํ้าที่ไม่ได้แยกส่วนทรัพยากรนํ้าออกจากทรัพยากรอื่นในระบบนิเวศลุ่มนํ้า เช่น ความหลากหลายทางชีวภาพ ที่ดิน ป่าไม้ และวิถีชีวิตผู้คนซึ่งเป็นทั้งฐานคิดและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการใช้และดูแลลุ่มนํ้าอย่างยั่งยืน เพื่อความเข้าใจเรื่องการจัดการลุ่มนํ้าว่าคืออะไร จัดการอะไร จัดการอย่างไรจึงจะพิสูจน์ได้ว่าเป็นการจัดการลุ่มนํ้าแบบยั่งยืน การเรียนรู้จากรูปธรรมความยั่งยืน ในพื้นที่ลุ่มนํ้าอิง ที่เป็นการจัดการลุ่มนํ้าแบบบูรณาการ โดยชุมชนและความร่วมมือหลากหลายภาคส่วน (Integrated Watershed Resources Management) รูปแบบการจัดการเป็นกา
จดหมายข่าว "CF Net News" ฉบับปฐมฤกษ์ ประจำเดือนมี.ค.2562
“CF Net News” หรือ ซีเอฟ เน็ท นิวส์ คือจดหมายข่าว เพื่อการเชื่อมโยง ประสานความเข้าใจและแบ่งปันข้อมูลกันภายในเครือข่ายป่าไม้ภาคพลเมือง จึงเป็นพื้นที่ของการสื่อสาร เพื่อบอกเล่าความคืบหน้า ข่าวสาร และบทความวิเคราะห์ที่เป็นประโยชน์กับเครือข่ายฯ โดยจะนำเสนอเป็นประจำทุกวันที่15 ของเดือน โดยเผยแพร่ทั้งทางโซเชียลมีเดีย (ไลน์ และเฟซบุ๊ค) และเว็บไซด์
ฉบับปฐมฤกษ์ พบกับ
ชุมชนบ้านงามเมือง: การจัดการลุ่มน้ำย่อยและการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ต. ยางฮอม อ.ขุนตาล จ.เชียงราย
โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายท้องถิ่นและหน่วยงานท้องถิ่นเพื่อการจัดการลุ่มน้ำอิงอย่างยั่งยืน (Empowerment of Local Networks and Local Authorities (LAs) for Sustainable Ing Watershed Management หรือ โครงการอนุรักษ์แม่น้ำอิง) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศูนย์วนศาสตร์ชุมชนเพื่อคนกับป่า (RECOFTC) – ประเทศไทย กับสถาบันความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและอาเซียน มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย โดยมีภาคีท้องถิ่นในการดำเนินงานคือ สภาประชาชนลุ่มน้ำอิง กลุ่มรักษ์เชียงของ สถาบันปวงพญาพยาว มหาวิทยาลัยพะเยา ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสหภาพยุโรป โดยมีพื้นที่ชุมชนเป้าหมายในการปฏ
ชุมชนบ้านเวียงใต้ บทบาทหญิง-ชายในการจัดการเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ อ.เทิง จ.เชียงราย
โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายท้องถิ่นและหน่วยงานท้องถิ่นเพื่อการจัดการลุ่มน้ำอิงอย่างยั่งยืน (Empowerment of Local Networks and Local Authorities (LAs) for Sustainable Ing Watershed Management หรือ โครงการอนุรักษ์แม่น้ำอิง) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศูนย์วนศาสตร์ชุมชนเพื่อคนกับป่า (RECOFTC) – ประเทศไทย กับสถาบันความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและอาเซียน มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย โดยมีภาคีท้องถิ่นในการดำเนินงานคือ สภาประชาชนลุ่มน้ำอิง กลุ่มรักษ์เชียงของ สถาบันปวงพญาพยาว มหาวิทยาลัยพะเยา ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสหภาพยุโรป โดยมีพื้นที่ชุมชนเป้าหมายในการปฏ
Community Forestry Enterprise development in Myanmar through socially responsible business approaches
This policy brief was developed based on findings from a series of sub-national and national multi-stakeholder workshops organized between July and November 2018. These workshops shared the experiences of community forestry enterprise (CFE) development and private sector partnership in Myanmar. This report highlights the findings.