Aller au contenu principal

page search

thaï
Language code (ISO 639-1)
th
Language code (ISO 639-3)
tha

รายงานศึกษานโยบายกฎหมายและ สถานการณ์การถือครองที่ดินป่าไม้ของ เกษตรกรรายย่อยในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ

Reports & Research
Avril, 2020
Thailand

รายงานการศึกษานโยบายกฎหมายและสถานะการถือครองที่ดินป่าไม้ของเกษตรกรรายย่อยในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาตินี้เป็นผลงานที่เกิดจากเรียบเรียงเอกสารมือสอง การสัมภาษณ์เชิงลึกและการทำงานในพื้นที่ภาคสนามร่วมกันระหว่าง รีคอฟ อาจารย์ ดร.รัชนี โพธิแท่น และคณะนักศึกษาปริญญาโท คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตัวแทนชุมชนในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ และเครือข่ายประชาสังคมเพื่อการจัดการป่าอย่างยั่งยืนและเป็นธรรม (เฟล็กที) เพื่อรวบรวมข้อมูลทั้งทางด้านวิชาการนโยบาย ข้อมูลเชิงปริมาณ และการสะท้อนมุมมองของผู้ที่เกี่ยวข้องในประเด็นของการถือครองที่ดินป่าในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ" 
 

Equator Initiative Case Studies. Thailand. Pred Nai Mangrove Conservation and Development Group (Thai)

Reports & Research
Décembre, 2004
Thailand

Local and indigenous communities across the world are advancing innovative sustainable development solutions that work for people and for nature. Few publications or case studies tell the full story of how such initiatives evolve, the breadth of their impacts, or how they change over time. Fewer still have undertaken to tell these stories with community practitioners themselves guiding the narrative. The Equator Initiative aims to fill that gap.

ข้อมูลพื้นฐาน - ชุมชนบ้านคลองเรือ

Reports & Research
Décembre, 2013
Thailand

เอกสารที่รวบรวมข้อมูลพื้นฐานของชุมชนบ้านคลองเรือไว้อย่างครบถ้วน เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจทั่วไป

qr code

รายงานการสัมมนาการจัดการองค์ความรู้ท้องถิ่น ศูนย์เรียนรู้ชุมชน:การจัดการองค์ความรู้เพื่อการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนและชายฝั่งอย่างยั่งยืน

Training Resources & Tools
Décembre, 2013
Thailand

รายงานฉบับนี้ นำเสนอความสำเร็จด้านการจัดการทรัพยากรป่าชายเลนและชายฝั่งของชุมชน ที่ต่อมาได้มีการพัฒนามาเป็นโครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายการจัดการทรัพยากรชายฝั่งโดยชุมชนในพื้นที่ 6 ตำบล ในจังหวัดตราด เพื่อต่อยอดรูปธรรมที่ทั้งชุมชนและโครงการต่างๆ ได้พัฒนาขึ้น การดำเนินงานขับเคลื่อนผ่านการพัฒนา "ศูนย์เรียนรู้ชุมชน" โดยเน้นการสร้างชุมชนต้นแบบที่มีแผนการจัดการทรัพยากรในทุกตำบล การจัดการระบบนิเวศป่าชายเลนและชายฝั่งอย่างยั่งยืน ซึ่งประกอบด้วยวิทยากรท้องถิ่น หลักสูตรและสื่อเพื่อการถ่ายทอดความรู้ เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของบุคลากรกลุ่มต่างๆ ทั้งในเครือข่ายและนอกเครือข่าย โดยองค์ความรู้ที่จะ

การประชุมเชิงปฏิบัติการระดับชาติ "ก้าวต่อไป ยุทธศาสตร์และแนวทางความร่วมมือในงานวนศาสตร์ชุมชนในประเทศไทย"

Mars, 2014
Thailand

เมื่อวันที่ 19-21 มีนาคม 2557 ที่ผ่านมา ศูนย์วนศาสตร์ชุมชนเพื่อคนกับป่า - ประเทศไทย ร่วมกับองค์กรภาคีจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการระดับชาติ "ก้าวต่อไป ยุทธศาสตร์และแนวทางความร่วมมือในงานวนศาสตร์ชุมชนในประเทศไทย" ขึ้น ณ สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส กรุงเทพฯ และอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ นครราชสีมา โดยรายงานเล่มนี้ได้รวบรวมรายละเอียดของการประชุมดังกล่าวไว้อย่างครบถ้วน เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจและติดตามทิศทางการดำเนินงานของงานวนศาสตร์ชุมชนในประเทศไทยต่อไปในอนาคต

รวมสไลด์นำเสนอ งานสมัชชาป่าไม้ภาคพลเมือง ครั้งที่ 2 (9-10 ก.ค. 2562)

Institutional & promotional materials
Juillet, 2019
Thailand

ชุดรวมสไลด์นำเสนอ งานสมัชชาป่าไม้ภาคพลเมือง ครั้งที่ 2 

“รวมพลังสู่ความยั่งยืนร่วมขับเคลื่อนธรรมาภิบาลป่าไม้ไทย”

วันที่ 9-10 ก.ค. 2562 ณ โรงแรมเอบีน่าเฮ้าส์ ซ. วิภาวดีรังสิต 64 กรุงเทพฯ

 

ข้อมูลพื้นฐาน - ชุมชนบ้านซำผักหนาม

Reports & Research
Décembre, 2013
Thailand

เอกสารที่รวบรวมข้อมูลพื้นฐานของชุมชนบ้านซำผักหนามไว้อย่างครบถ้วน เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจทั่วไป

qr code

จดหมายข่าว CF-Net News ฉบับที่ 14 ประจำเดือนส.ค.-ก.ย. 2563

Institutional & promotional materials
Septembre, 2020
Thailand

จดหมายข่าว "CF-Net News" หรือ ซีเอฟ เน็ท นิวส์ คือจดหมายข่าว เพื่อการเชื่อมโยง ประสานความเข้าใจและแบ่งปันข้อมูลกันภายในเครือข่ายป่าไม้ภาคพลเมือง จึงเป็นพื้นที่ของการสื่อสาร เพื่อบอกเล่าความคืบหน้า ข่าวสาร และบทความวิเคราะห์ที่เป็นประโยชน์กับเครือข่ายฯ โดยจะนำเสนอเป็นประจำ โดยเผยแพร่ทั้งทางโซเชียลมีเดีย (ไลน์ และเฟซบุ๊ค) และเว็บไซด์

ชุมชนบ้านเวียงใต้ บทบาทหญิง-ชายในการจัดการเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์น้ำ อ.เทิง จ.เชียงราย

Reports & Research
Décembre, 2018
Thailand

โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายท้องถิ่นและหน่วยงานท้องถิ่นเพื่อการจัดการลุ่มน้ำอิงอย่างยั่งยืน (Empowerment of Local Networks and Local Authorities (LAs) for Sustainable Ing Watershed Management หรือ โครงการอนุรักษ์แม่น้ำอิง) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศูนย์วนศาสตร์ชุมชนเพื่อคนกับป่า (RECOFTC) – ประเทศไทย กับสถาบันความหลากหลายทางชีวภาพและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและอาเซียน มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย โดยมีภาคีท้องถิ่นในการดำเนินงานคือ สภาประชาชนลุ่มน้ำอิง กลุ่มรักษ์เชียงของ สถาบันปวงพญาพยาว มหาวิทยาลัยพะเยา ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสหภาพยุโรป โดยมีพื้นที่ชุมชนเป้าหมายในการปฏ